Comparison Modified Essay Questions Scores According to Teaching Techniques in Obstetrics and Gynecology
Abstract
Objective: To compare modified essay question (MEQ) scores of fifth-year medical students who have been trained in obstetrics and gynecology according to the teaching techniques in the obstetrics and gynecologic departments. (lecture, topic conference, and bedside teaching).
Material and Method: Collected MEQs scores of fifth-year medical students who have been trained in obstetrics and gynecology, at the faculty of Medicine, Prince of Songkla University in the academic years of 2010-2013. The mean and percentage of medical students who passed the exam, were analyzed according to these teaching techniques. ANOVA and chi-square test were used for comparing each group.
Results: Mean scores of MEQs in lecture, topic conference, and bedside teaching were 54.2, 63.4 and 63.6, respectively (p<0.01), and the percentage of medical students who passed the exam were 61.1%, 84.4%, and 87.3%, respectively (p<0.01).
Conclusion: Active learning in combined techniques along with, real practice will improve efficiency and retention of learning.
เปรียบเทียบผลคะแนนสอบ MEQs โดยแยกตามเทคนิค การสอน ของนักศึกษาแพทย์ในภาควิชาสูติศาสตร์และ นรีเวชวิทยา
หนึ่งฤทัย แซ่เอียบ*
สาธิต คลังสิ
จิตเกษม สุวรรณรัฐ
ศิริรัตน์ ธำรงวัฒน์
ศิวัชญา คนึงกิจก้อง
กฤติมา จันทนะวรรณ
ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110
วัตถุประสงค์: เปรียบเทียบคะแนนสอบ modified essay question (MEQ) ของนักศึกษาแพทย์ปีที่ 5 โดยจำแนกตามวิธีการเรียนการสอนในภาคทฤษฎีของภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา (การบรรยาย การทำ topic conference และการสอนข้างเตียง)
วัสดุและวิธีการ: รวบรวมคะแนนสอบ MEQ ของนักศึกษาแพทย์ปีที่ 5 ที่ผ่านการเรียนการสอนในภาควิชา สูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในปีการศึกษา 2553-2556 นำข้อมูลมาวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยและจำ นวนนักศึกษาแพทย์ที่ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ โดยแยกตามวิธีการเรียนการสอน ในภาคทฤษฎี และเปรียบเทียบความสัมพันธ์ในแต่ละกลุ่มโดยใช้ ANOVA และ Chi-Square test
ผลการศึกษา: คะแนนเฉลี่ยในกลุ่มข้อสอบการบรรยาย 54.2 คะแนน การทำ topic conference 63.4 คะแนน และ การสอนข้างเตียง 63.6 คะแนน โดยมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำ คัญทางสถิติ (p<0.01) และจำ นวนนักศึกษาแพทย์ ที่ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ ในกลุ่มข้อสอบการบรรยาย ร้อยละ 61.1 การทำ topic conference ร้อยละ 84.4 และการสอน ข้างเตียง ร้อยละ 87.3 โดยมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำ คัญในทางสถิติ (p<0.01)
สรปุ: การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นหลัก มีการสื่อสารระหว่างผู้เรียนและผู้สอน มีมากกว่า 1 วิธี รวมถึงการฝึกปฏิบัติ และนำมาใช้ในสถานการณ์จริง จะทำให้เพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้และการจดจำความรู้ได้มากขึ้น
Keywords
Full Text:
PDFRefbacks
- There are currently no refbacks.
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 4.0 International License.