Usage and Attitudes of Instant Messaging Applications among General Surgery Residents in Southern Thailand
Abstract
Background: Instant messaging applications are used widely in Thailand by many people including medical physicians. Instant messaging applications are a tool for personal communication and recently became a tool for group communication in the professional medical practice. However, there are no data on the frequency of use, utilities or attitude of Thai medical personnel of these applications.
Objective: To assess the utility, frequency of use, and attitude of surgical residents on instant messaging applications on smartphones or tablets.
Material and Method: In 2013, questionnaires were sent to all general surgery residents who were in training at the hospital of Prince of Songkla University to evaluate the utility, frequency of use and attitude of using instant messaging applications on smartphones.
Results: Thirty of 32 residents returned the questionnaire. A smartphone was used by 93% of the residents and the ones who did not use a smartphone used a tablet. LINE was the application most commonly used (96.7%). The residents used LINE mostly for sending and receiving text, clinical photos, and radiology films. Some of the residents used LINE for academic discussion. The residents strongly agreed that the application made communication between team members more convenient and faster. The main concern when using LINE is patient confidentiality.
Conclusion: Instant messaging applications are useful for communication between team members and they have the potential to become a tool for academic learning.
ที่มาและความสำคัญ: ประชาชนไทยได้นิยมใช้โปรแกรมประยุกต์ ในช่วงแรกเป็นไปเพื่อการติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคลต่อมาโปรแกรมดังกล่าวได้เป็นที่นิยมมากขึ้น จึงมีการใช้โปรแกรมเพื่อการติดต่อสื่อสารในกลุ่มคนซึ่งเป็นกลุ่มปิดและได้แพร่ขยายถึงการใช้ส่งข้อความเพื่อการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพต่างๆ
วัตถุประสงค ์: การศึกษานี้มีเป้าประสงค์เพื่อสำรวจถึงประโยชน์และทัศนคติการใช้โปรแกรมสำเร็จของแพทย์ประจำบ้านสาขาศัลยศาสตร์ทั่วไป
วัสดุและวิธีการ : แบบสอบถามได้ถูกส่งให้แพทย์ประจำบ้านทุกคน ที่กำลังฝึกอบรมในสาขาศัลยศาสตร์ทั่วไปในคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ แบบสอบถามเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นมาเอง เพื่อได้ประเมินถึงลักษณะการใช้ ความถี่และทัศนคติต่อการใช้โปรแกรม
ผลการ ศึกษา: จากแพทย์ประจำบ้านจำนวน 32 คน มีแพทย์ประจำบ้าน 30 คน ตอบและคืนแบบสอบถาม (ร้อยละ 93.75) ร้อยละ 93 ของแพทย์ประจำบ้านใช้สมาร์ทโฟน ส่วนคนที่ไม่ได้ใช้สมาร์ทโฟนจะใช้แท็บเล็ต ร้อยละ 96.7 มีการใช้โปรแกรมประยุกต์ไลน์ ส่วนใหญ่แพทย์ประจำบ้านใช้โปรแกรมประยุกต์ในการส่งข้อความ รูปภาพ และรูปภาพรังสี มีบางส่วนที่ใช้โปรแกรมประยุกต์ในการอภิปรายเชิงวิชาการ แพทย์ประจำบ้านเห็นว่าโปรแกรมประยุกต์ไลน์ทำให้การสื่อสารระหว่างกันสะดวกและรวดเร็ว หากแต่ยังมีความกังวลเรื่องการรั่วไหลของข้อมูลผู้ป่วย
สรุป: โปรแกรมประยุกต์ส่งข้อความสำเร็จมีประโยชน์ในการสื่อสาร และมีศักยภาพในการพัฒนาไปสู่การเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เชิงวิชาการ
Keywords
Full Text:
PDFRefbacks
- There are currently no refbacks.
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 4.0 International License.