An Exciting Theoretical Framework Looking at A New Insight Approach for the Remediation of Children with Developmental Dyslexia
Abstract
Developmental dyslexia is a neurodevelopmental disorder that is related to cognitive processing. Several studies have shown that we must understand the causes, risk factors, pathology of the brain, and treatment and prevention. Additionally, many theories and concepts of brain function have been investigated and show that the process of visual perception is relate to reading problems. Therefore, this article has covered the theoretical foundations and new insight of brain function with visual perceptual processing that affects children with developmental dyslexia. This will show the effectiveness of new technologies in relation to children with developmental dyslexia. Most importantly, early intervention may reduce the reading problems in children.
กรอบคิ ดเชิงท ฤษฎี และมุมมองใหม่เพื่อพัฒนาเ ด็ก ที่ มีควา มบกพร่องด้าน การ อ่าน
วัฒนารี อัมมวรรธน์1*, เสรี ชัดแช้ม2
1กลุ่มสาขาวิชากิจกรรมบำบัด คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170
2วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา อ.เมือง จ.ชลบุรี 20131
บทค ัดย่อ:
ความบกพร่องด้านการอ่าน เป็นความผิดปกติของพัฒนาการระบบประสาทตั้งแต่แรกเกิด และมีความ สัมพันธ์กับกระบวนการทางปัญญา การศึกษาในปัจจุบันทำให้ทราบสาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง และพยาธิสภาพของสมอง ที่ส่งผลต่อการเกิดภาวะความบกพร่องด้านการอ่านชัดเจนยิ่งขึ้น มีการนำเสนอทฤษฏี แนวคิดการทำงานของ สมองกับกระบวนการรับรู้การมองเห็นที่ส่งผลต่อความสามารถด้านการอ่าน บทความนี้ได้ทบทวน ทฤษฏี แนวคิด ความก้าวหน้า งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดเดิม และแนวคิดใหม่เกี่ยวกับการทำงานของสมองกับกระบวนการ รับรู้การมองเห็นที่ส่งผลต่อความสามารถด้านการอ่านในมิติต่างๆ รวมทั้งยังรวบรวมงานวิจัยที่ทันสมัยและ มีประสิทธิผลเพื่อลดปัญหาความสามารถของพัฒนาการการอ่านในเด็ก ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นที่เด็กควรได้รับ การช่วยเหลือตั้งแต่เริ่มแรกเพื่อที่เด็กจะสามารถอ่านหนังสือได้เต็มศักยภาพของการเรียนรู้
Keywords
Full Text:
PDFRefbacks
- There are currently no refbacks.
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 4.0 International License.