Risk of Hypokalemia to the First Episode Peritonitis Related to Peritoneal Dialysis
Abstract
Objective: To determine whether hypokalemia is a risk factor for first episode peritonitis among patients undergoing peritoneal dialysis (PD)
Material and Method: A retrospective cohort study was conducted among PD patients treated at Nakornping Hospital, Chiang Mai, Thailand, between January 2007 and September 2013. The subjects were divided into two groups according to their time-averaged serum potassium concentrations: <3.5 mEq/L (hypokalemia) versus 3.5-5.5 mEq/L (normokalemia). Cox’s proportional-hazards regression analysis was used to determine relationship between hypokalemia and the first episode of PD-related peritonitis.
Results: Of 342 eligible PD patients with follow-up assessments, 184 (53.8%) had PD-related peritonitis. Coagulase-negative staphylococci (CoNS) (12.5%) and Staphylococcus aureus (6.5%) were isolated more frequently in the first episode of PD-related peritonitis. The incidence of the first episode of PD-related peritonitis for the hypokalemia and normokalemia groups were 0.48 and 0.31 episodes per person-years, respectively. From the Cox’s proportional-hazards model, the hypokalemia group had a higher risk of first episode of PD-related peritonitis compared with the normokalemia group [adjusted HR (hazard ratio) 1.42; 95% CI (confidence interval)=1.02-1.98, p-value=0.039].
Conclusion: In PD patients, hypokalemia was an independent risk factor for first episode PD-related peritonitis. Potassium replacement therapy should be administered when appropriate to reduce the rate of first episode PD-related peritonitis. Serum potassium levels should be closely monitored in patients with PD.
ความเสี่ยงของภาว ะโพแทสเซียมในเล ือดต่ำ�ต่อการเ กิดภาว ะ เยื่อบุช่องท ้องอักเสบจากการ ติดเช ื้อคร ั้งแรกในผู้ป่วยที่ ได้รับ การล ้าง ไตทางช ่องท ้อง
ชยุตพงศ์ ใจใส1,2, พงศ์อาชว์ พลอยชิตกุล1, สุรพล โนชัยวงศ์1,2, ชิดชนก เรือนก้อน1,2*, เศรษฐพล ปัญญาทอง3, ยุรภรณ์ ข่ายสุวรรณ3
1ภาควิชาบริบาลเภสัชกรรม 2คลินิกเภสัชระบาดวิทยาและสถิติ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200
3ศูนย์โรคไต โรงพยาบาลนครพิงค์ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 50180
บทค ัดย่อ:
วัตถุประสงค ์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระดับโพแทสเซียมในเลือดต่ำกับการเกิดภาวะเยื่อบุช่องท้องอักเสบ จากการติดเชื้อครั้งแรกที่สัมพันธ์กับการล้างไตทางช่องท้อง
วัสดุและวิ ธีการ : การวิจัยแบบเก็บข้อมูลย้อนหลัง (retrospective cohort) เก็บข้อมูลย้อนหลังจากเวชระเบียน ของผู้ป่วยที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้อง ณ โรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2550 ถึง เดือนกันยายน พ.ศ. 2556 แบ่งผู้ป่วยเป็น 2 กลุ่ม คือ (1) ผู้ที่มีค่าเฉลี่ยระดับโพแทสเซียมในเลือดต่ำ (<3.5 มิลลิอิควิวาเลนท์/ลิตร) และ (2) ผู้ที่มีค่าเฉลี่ยระดับโพแทสเซียมในเลือดปกติ (3.5-5.5 มิลลิอิควิวาเลนท์/ลิตร) จากนั้นวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของระดับโพแทสเซียมกับการเกิดภาวะเยื่อบุช่องท้องอักเสบจากการติดเชื้อครั้งแรก ด้วยสถิติ Cox’s proportional-hazards regression
ผลการศึกษา: พบผู้ที่เกิดภาวะเยื่อบุช่องท้องอักเสบจากการติดเชื้อครั้งแรก 184 ราย จากผู้เข้าร่วมการศึกษา 342 ราย (ร้อยละ 53.8) เชื้อจุลชีพสาเหตุที่พบมากที่สุดคือ coagulase-negative staphylococci (CoNS) (ร้อยละ 12.5) และ Staphylococcus aureus (ร้อยละ 6.5) ตามลำดับ อุบัติการณ์เยื่อบุช่องท้องอักเสบครั้งแรกในกลุ่มที่มีระดับ โพแทสเซียมในเลือดต่ำและปกติ เป็น 0.48 และ 0.31 ครั้งต่อผู้ป่วย-ปี (episode per patient-year) ตามลำดับ ผู้ที่มีระดับโพแทสเซียมในเลือดต่ำ มีความเสี่ยงในการเกิดภาวะเยื่อบุช่องท้องอักเสบจากการติดเชื้อครั้งแรกสูงกว่า กลุ่มที่มีระดับโพแทสเซียมในเลือดปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ [adjusted HR (hazard ratio) 1.42; 95% CI (confidence interval)=1.02-1.98, p-value=0.039]
สรุป: ผู้ป่วยที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้องควรได้รับการทดแทนโพแทสเซียมในเลือดกรณีที่มีระดับโพแทสเซียม ในเลือดต่ำเพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดภาวะเยื่อบุช่องท้องอักเสบ และควรมีการติดตามระดับโพแทสเซียมในเลือด อย่างใกล้ชิด
Material and Method: A retrospective cohort study was conducted among PD patients treated at Nakornping Hospital, Chiang Mai, Thailand, between January 2007 and September 2013. The subjects were divided into two groups according to their time-averaged serum potassium concentrations: <3.5 mEq/L (hypokalemia) versus 3.5-5.5 mEq/L (normokalemia). Cox’s proportional-hazards regression analysis was used to determine relationship between hypokalemia and the first episode of PD-related peritonitis.
Results: Of 342 eligible PD patients with follow-up assessments, 184 (53.8%) had PD-related peritonitis. Coagulase-negative staphylococci (CoNS) (12.5%) and Staphylococcus aureus (6.5%) were isolated more frequently in the first episode of PD-related peritonitis. The incidence of the first episode of PD-related peritonitis for the hypokalemia and normokalemia groups were 0.48 and 0.31 episodes per person-years, respectively. From the Cox’s proportional-hazards model, the hypokalemia group had a higher risk of first episode of PD-related peritonitis compared with the normokalemia group [adjusted HR (hazard ratio) 1.42; 95% CI (confidence interval)=1.02-1.98, p-value=0.039].
Conclusion: In PD patients, hypokalemia was an independent risk factor for first episode PD-related peritonitis. Potassium replacement therapy should be administered when appropriate to reduce the rate of first episode PD-related peritonitis. Serum potassium levels should be closely monitored in patients with PD.
ความเสี่ยงของภาว ะโพแทสเซียมในเล ือดต่ำ�ต่อการเ กิดภาว ะ เยื่อบุช่องท ้องอักเสบจากการ ติดเช ื้อคร ั้งแรกในผู้ป่วยที่ ได้รับ การล ้าง ไตทางช ่องท ้อง
ชยุตพงศ์ ใจใส1,2, พงศ์อาชว์ พลอยชิตกุล1, สุรพล โนชัยวงศ์1,2, ชิดชนก เรือนก้อน1,2*, เศรษฐพล ปัญญาทอง3, ยุรภรณ์ ข่ายสุวรรณ3
1ภาควิชาบริบาลเภสัชกรรม 2คลินิกเภสัชระบาดวิทยาและสถิติ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200
3ศูนย์โรคไต โรงพยาบาลนครพิงค์ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 50180
บทค ัดย่อ:
วัตถุประสงค ์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระดับโพแทสเซียมในเลือดต่ำกับการเกิดภาวะเยื่อบุช่องท้องอักเสบ จากการติดเชื้อครั้งแรกที่สัมพันธ์กับการล้างไตทางช่องท้อง
วัสดุและวิ ธีการ : การวิจัยแบบเก็บข้อมูลย้อนหลัง (retrospective cohort) เก็บข้อมูลย้อนหลังจากเวชระเบียน ของผู้ป่วยที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้อง ณ โรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2550 ถึง เดือนกันยายน พ.ศ. 2556 แบ่งผู้ป่วยเป็น 2 กลุ่ม คือ (1) ผู้ที่มีค่าเฉลี่ยระดับโพแทสเซียมในเลือดต่ำ (<3.5 มิลลิอิควิวาเลนท์/ลิตร) และ (2) ผู้ที่มีค่าเฉลี่ยระดับโพแทสเซียมในเลือดปกติ (3.5-5.5 มิลลิอิควิวาเลนท์/ลิตร) จากนั้นวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของระดับโพแทสเซียมกับการเกิดภาวะเยื่อบุช่องท้องอักเสบจากการติดเชื้อครั้งแรก ด้วยสถิติ Cox’s proportional-hazards regression
ผลการศึกษา: พบผู้ที่เกิดภาวะเยื่อบุช่องท้องอักเสบจากการติดเชื้อครั้งแรก 184 ราย จากผู้เข้าร่วมการศึกษา 342 ราย (ร้อยละ 53.8) เชื้อจุลชีพสาเหตุที่พบมากที่สุดคือ coagulase-negative staphylococci (CoNS) (ร้อยละ 12.5) และ Staphylococcus aureus (ร้อยละ 6.5) ตามลำดับ อุบัติการณ์เยื่อบุช่องท้องอักเสบครั้งแรกในกลุ่มที่มีระดับ โพแทสเซียมในเลือดต่ำและปกติ เป็น 0.48 และ 0.31 ครั้งต่อผู้ป่วย-ปี (episode per patient-year) ตามลำดับ ผู้ที่มีระดับโพแทสเซียมในเลือดต่ำ มีความเสี่ยงในการเกิดภาวะเยื่อบุช่องท้องอักเสบจากการติดเชื้อครั้งแรกสูงกว่า กลุ่มที่มีระดับโพแทสเซียมในเลือดปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ [adjusted HR (hazard ratio) 1.42; 95% CI (confidence interval)=1.02-1.98, p-value=0.039]
สรุป: ผู้ป่วยที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้องควรได้รับการทดแทนโพแทสเซียมในเลือดกรณีที่มีระดับโพแทสเซียม ในเลือดต่ำเพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดภาวะเยื่อบุช่องท้องอักเสบ และควรมีการติดตามระดับโพแทสเซียมในเลือด อย่างใกล้ชิด
Keywords
Full Text:
PDFRefbacks
- There are currently no refbacks.
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 4.0 International License.